บทที่ 6 การออกแบบงานสถาปัตยกรรม



บทที่ 6
การออกแบบงานสถาปัตยกรรม

        เนื่องจาก โครงการ พิพิธภัณฑ์เพื่อศูนย์การเรียนรู้ผ้าทอ แห่งประเทศไทย หากจะพูดถึงเรื่องของผ้าไทย แน่นอนว่า ทุกคนจะนึกภาพถึง ผ้าไหมเป้นอันดับแรก จึงได้นำแนวความคิด ที่เกี่ยวกับ รังไหม จ่อไหม และหนอนไหม มาเป็นแนวความคิดในการออกแบบ โดย จ่อไหมนั้น ได้นำมาเปรียบกับ โครงสร้างของตัวโครงการ แบบฟรอมของอาคาร รังไหม เปรียบกับ ฟังก์ชั่นแทนกิจกรรมที่คนสามารถเข้าไปทำกิจกรรมภายในตัวกลุ่มอาคาร และหนอนไหม เปรียบกับคน ที่เข้าไปสร้างสรรค์ผลงานที่เกี่ยวกับผ้าทอ  ส่วนในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวโครงการกับบริบทโดยรอบ ด้วยโครงการนั้น เป็นโครงการที่ถูกบริหารจัดการภายใต้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และในบริเวณนั้นมีความหนาเเน่นของตัวอาคาร จึงใช้พื้นทีสาธารระด้านหน้าโครงการ และด้านข้างของโครงการเชื่อมต่อระหว่างโครงการกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  โดยพื้นที่ดังกล่าวที่ถูกเชื่อมต่อนั้น นักศึกษาสามารถมาทำกิจกรรม ในส่วนของพื้นที่นี้ได้






ภาพที่ 6.1 แสดงผังบริเวณ





ภาพที่ 6.2 แสดงแปลนชั้น 1





ภาพที่ 6.3 แสดงแปลนจอดรถชั้นใต้ดิน ชั้น 2




       


ภาพที่ 6.4 แสดงแปลนจอดรถชั้นใต้ดิน ชั้น 1






ภาพที่ 6.6  แสดงแปลนชั้น 2



ภาพที่ 6.7 แสดงแปลนชั้น 3



 







ภาพที่ 6.7 แสดงแปลนชั้น 3





ภาพที่ 6.8แสดงแปลนชั้น 3-1


 






ภาพที่ 6.10 แสดงแปลนชั้น 5
 



 




ภาพที่ 6.11 แสดงแปลนจอดรถชั้นหลังคา

 

ภาพที่ 6.12 แสดง circulation & function







ภาพที่ 6.13 แสดงรูปตัด 1-2





ภาพที่ 6.13 แสดงรูปตัด 1-2







ภาพที่ 6.14 แสดงรูปตัด 3-4








ภาพที่ 6.14 แสดงรูปตัด 3-4








ภาพที่ 6.15 แสดงรูปด้าน 1 – 2








ภาพที่ 6.16 แสดงรูปด้าน 3 – 4







ภาพที่ 6.17 แสดงทัสนียภาพภายนอก







ภาพที่ 6.18 แสดงทัสนียภาพภายนอก






ภาพที่ 6.19 แสดงทัสนียภาพภายนอก





 

ภาพที่ 6.20 แสดงทัสนียภาพภายนอก







ภาพที่ 6.21 แสดงทัสนียภาพภายใน







ภาพที่ 6.22 แสดงทัสนียภาพภายใน






ภาพที่ 6.23 แสดงทัสนียภาพภายใน







ภาพที่ 6.24  แสดงระบบโครงสร้าง 






 ภาพที่ 6.25  แสดงระบบโครงสร้าง 







ภาพที่ 6.26 แสดงระบบโครงสร้าง

 


ภาพที่ 6.27 แสดงระบบโครงสร้าง
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น